tại fb88 thể thao

Sustainable Supply Chain

tại fb88 thể thaoLiên kết đăng nhập

สินค้าและบริการกว่าจะส่งมอบไปสู่มือของผู้บริโภคนั้น
มีกระบวนการจัดการที่เกี่ยวเนื่องกันตั้งแต่การจัดซื้อ (Procurement)
การผลิต (Manufacturing) การจัดเก็บ (Storage)
การขนส่ง (Transportation) และการจัดจำหน่าย (Distribution)
รวมเรียกว่า ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain)

ที่ผ่านมา ธุรกิจการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานมีลักษณะไม่ซับซ้อน ประกอบด้วยผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจำนวน ไม่มาก บริษัทส่วนใหญ่จึงเน้นพัฒนาประสิทธิภาพด้านเศรษฐกิจเป็นสำคัญ เช่น การพัฒนาคุณภาพเชิงเทคนิค การลดต้นทุน และเพิ่มความรวดเร็วในการจัดส่งสินค้า เป็นต้น แต่ปัจจุบันการดำเนินธุรกิจมีความซับซ้อนมากขึ้น ทำให้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องหลากหลายขึ้น การดำเนินกิจกรรมในห่วงโซ่อุปทานเปลี่ยนเป็นรูปแบบเครือข่าย (Network) โดยมีความต้องการของ "ลูกค้า" เป็นแรงผลักดันสำคัญและส่งผลต่อผู้มีส่วนเกี่ยวข้องอื่นๆ เพิ่มขึ้นด้วย ไม่ว่าจะเป็น ผู้จำหน่ายวัตถุดิบ ผู้ผลิต ผู้จัดจำหน่ายและผู้ขนส่ง ต้องร่วมมือกันเพื่อยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขัน ในขณะเดียวกัน ผู้มีส่วนได้เสียอื่น อาทิ ผู้บริโภค ผู้ลงทุน พนักงาน และสังคม ต่างได้ให้ความสำคัญและเรียกร้องให้ธุรกิจบริหารจัดการประเด็นด้านสังคมและสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลกระทบต่อตนเอง ตลอดจนต้องการให้บริษัทเปิดเผยข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารจัดการตลอดห่วงโซ่อุปทานมากขึ้น

tại fb88 thể thaoLiên kết đăng nhập

ดังนั้น ในปัจจุบันองค์กรต่างๆ จึงได้นำแนวทางการพัฒนาอย่างยั่งยืนที่คำนึงถึงประเด็นด้านสังคม
สิ่งแวดล้อม และบรรษัทภิบาล (Environmental, Social and Governance หรือ ESG)
เข้ามาบูรณาการเป็นส่วนหนึ่งในการดำเนินธุรกิจตลอดห่วงโซ่อุปทานตั้งแต่ต้นน้ำจนถึงปลายน้ำ หรือที่เรียกว่า
“การบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืน” (Sustainable Supply Chain) ซึ่งช่วยเพิ่มโอกาสลดความเสี่ยงและเป็นการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันของธุรกิจอีกด้วย

ห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain) และ ห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืน (Sustainable Supply Chain)

ห่วงโซ่อุปทาน
tại fb88 thể thaoLiên kết đăng nhập
คือ เครือข่ายความสัมพันธ์ระหว่างบริษัทและคู่ค้าของบริษัทในการผลิตและส่งมอบสินค้า ที่แสดงให้เห็นถึงขั้นตอนของการได้มาซึ่งสินค้าตั้งแต่การจัดหาวัตถุดิบ การผลิต การขนส่ง ไปจนถึงการส่งมอบสินค้าหรือบริการไปยังลูกค้า
ห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืน
tại fb88 thể thaoLiên kết đăng nhập
คือ การจัดการผลกระทบด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และเศรษฐกิจ รวมทั้งการส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลกิจการที่ดี ตลอดวัฏจักรชีวิตของสินค้าและบริการ

กรอบการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืนตามแนวทางของ UN Global Compact

ได้แนะนำ ซึ่งประกอบด้วย 6 ขั้นตอน ดังนี้
tại fb88 thể thaoLiên kết đăng nhập
  1. แสดงความมุ่งมั่น (Commit)
  • กำหนดวิสัยทัศน์และวัตถุประสงค์ที่ชัดเจนในการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืน
  • จัดทำแนวปฏิบัติหรือจรรยาบรรณการดำเนินธุรกิจของคู่ค้า (Supplier Code of Conduct) ที่ครอบคลุมประเด็นสังคมและ/หรือสิ่งแวดล้อม เพื่อแสดงให้เห็นถึงความมุ่งมั่นของบริษัทในการสนับสนุนให้คู่ค้ามีการดำเนินงานอย่างมีจริยธรรมและรับผิดชอบต่อสังคม
  1. ประเมินขอบเขต (Assess)
  • ศึกษากิจกรรมต่างๆ ตลอดห่วงโซ่อุปทานและประเมินขอบเขตในการดำเนินโครงการเพื่อการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานว่าควรครอบคลุมคู่ค้าในกลุ่มใดบ้าง เช่น คู่ค้ารายสำคัญ (Key suppliers) คู่ค้าเชิงกลยุทธ์ (Strategic suppliers) เป็นต้น
  1. กำหนดกลุ่มคู่ค้า (Define)
  • ระบุว่าคู่ค้ารายใดเป็นคู่ค้ารายสำคัญของบริษัท โดยกำหนดเกณฑ์ในการจัดกลุ่มคู่ค้าอย่างชัดเจน เช่น วิเคราะห์จากมูลค่าการค้าที่มีระหว่างกัน ประเภทสินค้า/บริการที่ติดต่อซื้อขาย เป็นต้น
  1. ลงมือปฏิบัติ (Implement)
  • กำหนดบทบาทและหน้าที่ความรับผิดชอบในการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานภายในองค์กร ครอบคลุมตั้งแต่ระดับกรรมการบริษัทไปจนถึงหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น ฝ่ายจัดซื้อ ฝ่ายผลิต ฝ่ายตรวจสอบคุณภาพ ฝ่ายคลังสินค้า และฝ่ายจัดส่งสินค้า เป็นต้น
  • จัดให้มีกระบวนการ/ขั้นตอน/วิธีการ/แนวปฏิบัติ เพื่อระบุความเสี่ยงทางด้านเศรษฐกิจ (เช่น ความเสี่ยงจากการพึ่งพาคู่ค้าน้อยราย ความเสี่ยงจากการได้รับสินค้า/บริการ ที่ไม่ได้คุณภาพ) สังคม (เช่น สิทธิมนุษยชน การดูแลพนักงานและแรงงาน) และสิ่งแวดล้อม (เช่น การปฏิบัติตาม กฎหมาย ระเบียบ มาตรฐานด้านสิ่งแวดล้อม) ที่เกิดจากคู่ค้าของบริษัท
  • สร้างการมีส่วนร่วมกับคู่ค้า เพื่อสื่อสารความคาดหวังและความตั้งใจของบริษัทในการ บริหารจัดการความยั่งยืน ตลอดจนหาแนวทางเพื่อเพิ่มศักยภาพและความสามารถใน การแข่งขันและสร้างพลังความร่วมมือในห่วงโซ่อุปทาน
  1. วัดผลและติดตาม (Measure)
  • ติดตามการปฏิบัติตามจรรยาบรรณการดำเนินธุรกิจของคู่ค้า (Supplier Code of Conduct) เช่น การตรวจประเมินตนเองของคู่ค้า (Self-assessment) การตรวจประเมินโดยองค์กรอิสระภายนอก (Third-party audit) หรือการตรวจประเมิน ณ สถานประกอบการของคู่ค้า (Site visit) เป็นต้น
  • มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อช่วยพัฒนาการดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืนของคู่ค้าให้เป็นไปในแนวทางเดียวกันกับบริษัท
  1. เปิดเผยข้อมูล (Communicate)
  • เปิดเผยแนวทางการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานครอบคลุมตั้งแต่กลยุทธ์การประเมินความเสี่ยงของคู่ค้า การบริหารจัดการคู่ค้า การตรวจสอบประเมินคู่ค้า รวมถึงกิจกรรมพัฒนาคู่ค้าทั้งในเชิงพาณิชย์และความยั่งยืน

ประโยชน์ที่ได้จากการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทานอย่างยั่งยืน

tại fb88 thể thaoLiên kết đăng nhập

ลดความเสี่ยงที่ธุรกิจจะ
หยุดชะงักเนื่องจากผลกระทบ
ด้านเศรษฐกิจ สังคม
และสิ่งแวดล้อม 

tại fb88 thể thaoLiên kết đăng nhập
ปกป้องชื่อเสียงบริษัทและสร้าง Brand Value
tại fb88 thể thaoLiên kết đăng nhập
ลดต้นทุนในกระบวนการดำเนินธุรกิจ
tại fb88 thể thaoLiên kết đăng nhập
พัฒนาผลิตภาพแรงงาน
tại fb88 thể thaoLiên kết đăng nhập

สร้างนวัตกรรมใหม่ๆ
สอดรับกับตลาด
ที่เปลี่ยนแปลงไป 

fun88 nhà cái w88 địa chỉ bh88 game qh88 app link vào fun88